7 ข้อห้ามสำหรับ eLogo
1. อย่าใช้คลิปอาร์ต มักพบในกิจการของธุรกิจออนไลน์ที่เป็น SMEs หลายกิจการเลือกใช้วิธีง่ายๆ ในการ
ออกแบบโลโก้ให้กับเว็บไซต์ โดยเลือกใช้ คลิปอาร์ตแจกฟรีบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งลักษณะเป็นภาพ
ลายเส้นกราฟิกง่ายๆ แจกจ่ายให้ใช้ฟรีอย่างแพร่หลาย ซึ่งเมื่อลูกค้าที่เคยเห็นคลิปอาร์ตนี้มาก่อนแล้วได้
มีโอกาสเข้าเว็บไซต์ของกิจการ ลูกค้าอาจจะจำได้ และคิดต่อไปว่า แม้โลโก้ยังยืมคนอื่นมาใช้ฟรี ๆ แล้ว
ธุรกิจของเว็บไซต์นี้จะน่าเชื่อถือได้อย่างไร
2. อย่าใส่ลูกเล่น หรือเอฟเฟ็กต์กับโลโก้ ไม่ควรใช้เอฟเฟ็กต์ต่างๆ อย่างเช่น แสงสว่างเมลือง, เงาด้านหลัง
หรือมิตินูนต่ำ กับโลโก้ ซึ่งเอฟเฟ็กต์เหมาะกับงานสร้างสรรค์กราฟิก และรูปภาพในเว็บไซต์มากกว่า
ซึ่งการใช้เอฟเฟ็กต์จะส่งผลให้โลโก้ที่ได้ดูไม่ชัดเจน (รกสายตา มากกว่าชวนมอง) โลโก้ที่ดีควรจะ
สามารถดูชัดเจนเห็นครบรายละเอียด แม้จะใช้แค่สีขาวดำเท่านั้น
3. “โลโก้” ไม่ใช่ “แบนเนอร์” อย่าออกแบบโลโก้ให้มีลักษณะเหมือนแบนเนอร์โฆษณาในเว็บไซต์
โดยเฉพาะรูปแบบที่เป็นการใส่โลโก้เข้าไปเต็มพื้นที่สี่เหลี่ยม เนื่องจากสายตาของลูกค้าออนไลน์ถูกฝึก
ให้หลีกเลี่ยงการดูรูปทรงเหล่านี้อยู่แล้ว แน่นอนว่า โลโก้ของกิจการจะถูกละเลยไปด้วย
4. โลโก้ผสมรูปภาพ นักออกแบบโลโก้มือโปรฯ จะไม่พยายามผสมผสานกราฟิกเข้าไปเป็นเนื้อเดียวกับ
ตัวหนังสือที่ปรากฏในโลโก้ เนื่องจากการทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้มันดูดีค่อนข้างยากแล้ว (ต้องใช้
สมองตีความว่า รูปกราฟิกที่เห็นคือตัวอักษรอะไร) ยังเสี่ยงต่อเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันมากมายอีกด้วย
เช่น ตัวอักษรที่ใช้กราฟิกแทน อาจจะไปเหมือนกับโลโก้ของบริษัทอื่นที่พบเห็นบ่อยก็เช่น การแทนตัว
O ด้วย โลก, ลูกตา และแว่นขยาย เป็นต้น อาจโดนฟ้องร้องเลียนแบบได้
5. โลโก้ที่ใช้ตัวอักษรอย่างเดียว แม้การเลือกใช้โลโก้เป็นตัวอักษรทั้งหมด จะง่ายต่อการออกแบบ แต่มันก็
ง่ายต่อการถูกละเลยเช่นกัน ถ้าเป็นไปได้ (มีงบประมาณ) กิจการอาจจะทดลองเอาโลโก้ของกิจการไป
วางรวมกับโลโก้ของคนอื่นที่ใช้ตัวอักษรหมดแบบเดียวกับกิจการ แล้วให้กลุ่มเป้าหมายลองดูว่าจำโล
โก้ของกิจการได้มากน้อยเพียงใด ถ้าจำกันได้น้อย อาจจะต้องแก้ไขคุณสมบัติของตัวอักษรที่ใช้ทำโลโก้
ออกแบบโลโก้ให้กับเว็บไซต์ โดยเลือกใช้ คลิปอาร์ตแจกฟรีบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งลักษณะเป็นภาพ
ลายเส้นกราฟิกง่ายๆ แจกจ่ายให้ใช้ฟรีอย่างแพร่หลาย ซึ่งเมื่อลูกค้าที่เคยเห็นคลิปอาร์ตนี้มาก่อนแล้วได้
มีโอกาสเข้าเว็บไซต์ของกิจการ ลูกค้าอาจจะจำได้ และคิดต่อไปว่า แม้โลโก้ยังยืมคนอื่นมาใช้ฟรี ๆ แล้ว
ธุรกิจของเว็บไซต์นี้จะน่าเชื่อถือได้อย่างไร
2. อย่าใส่ลูกเล่น หรือเอฟเฟ็กต์กับโลโก้ ไม่ควรใช้เอฟเฟ็กต์ต่างๆ อย่างเช่น แสงสว่างเมลือง, เงาด้านหลัง
หรือมิตินูนต่ำ กับโลโก้ ซึ่งเอฟเฟ็กต์เหมาะกับงานสร้างสรรค์กราฟิก และรูปภาพในเว็บไซต์มากกว่า
ซึ่งการใช้เอฟเฟ็กต์จะส่งผลให้โลโก้ที่ได้ดูไม่ชัดเจน (รกสายตา มากกว่าชวนมอง) โลโก้ที่ดีควรจะ
สามารถดูชัดเจนเห็นครบรายละเอียด แม้จะใช้แค่สีขาวดำเท่านั้น
3. “โลโก้” ไม่ใช่ “แบนเนอร์” อย่าออกแบบโลโก้ให้มีลักษณะเหมือนแบนเนอร์โฆษณาในเว็บไซต์
โดยเฉพาะรูปแบบที่เป็นการใส่โลโก้เข้าไปเต็มพื้นที่สี่เหลี่ยม เนื่องจากสายตาของลูกค้าออนไลน์ถูกฝึก
ให้หลีกเลี่ยงการดูรูปทรงเหล่านี้อยู่แล้ว แน่นอนว่า โลโก้ของกิจการจะถูกละเลยไปด้วย
4. โลโก้ผสมรูปภาพ นักออกแบบโลโก้มือโปรฯ จะไม่พยายามผสมผสานกราฟิกเข้าไปเป็นเนื้อเดียวกับ
ตัวหนังสือที่ปรากฏในโลโก้ เนื่องจากการทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้มันดูดีค่อนข้างยากแล้ว (ต้องใช้
สมองตีความว่า รูปกราฟิกที่เห็นคือตัวอักษรอะไร) ยังเสี่ยงต่อเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันมากมายอีกด้วย
เช่น ตัวอักษรที่ใช้กราฟิกแทน อาจจะไปเหมือนกับโลโก้ของบริษัทอื่นที่พบเห็นบ่อยก็เช่น การแทนตัว
O ด้วย โลก, ลูกตา และแว่นขยาย เป็นต้น อาจโดนฟ้องร้องเลียนแบบได้
5. โลโก้ที่ใช้ตัวอักษรอย่างเดียว แม้การเลือกใช้โลโก้เป็นตัวอักษรทั้งหมด จะง่ายต่อการออกแบบ แต่มันก็
ง่ายต่อการถูกละเลยเช่นกัน ถ้าเป็นไปได้ (มีงบประมาณ) กิจการอาจจะทดลองเอาโลโก้ของกิจการไป
วางรวมกับโลโก้ของคนอื่นที่ใช้ตัวอักษรหมดแบบเดียวกับกิจการ แล้วให้กลุ่มเป้าหมายลองดูว่าจำโล
โก้ของกิจการได้มากน้อยเพียงใด ถ้าจำกันได้น้อย อาจจะต้องแก้ไขคุณสมบัติของตัวอักษรที่ใช้ทำโลโก้
6. โลโก้ที่เป็นชื่อย่อ ถ้าชื่อบริษัทของกิจการยาวมาก การใช้ชื่อเต็มๆ มาสร้างโลโก้จะ เป็นเรื่องยาก ไอเดีย
ของเจ้าของกิจการส่วนใหญ่จะเลือกใช้ชื่อย่อแทน ซึ่งยากมากที่จะออกแบบมาแล้วได้ประสบ
ความสำเร็จซึ่งต้องใช้งบประมาณมากในการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ชื่อย่อโลโก้ของกิจการจะได้รับความ
ไว้วางใจ บางทีธุรกิจของกิจการหายไปก่อนก็ได้ ส่วนใหญ่ลูกเล่นของโลโก้ที่ใช้ชื่อย่อ จะนำเอา
ตัวอักษรวางซ้อนทับกัน แม้จะดูสนุก (จนขาดความจริงจัง) แต่ข้อเท็จจริงที่คุณอาจจจะมองข้ามไป
พร้อมๆ กับลูกค้าของกิจการ คือ ไม่สามารถบอกกล่าวความสามารถในการสร้างความน่าเชื่อถือให้กับ
สินค้า และบริการของกิจการแก่ลูกค้าได้ทราบเลย
7. โลโก้ซับซ้อน-รายละเอียดมากเกินไป โลโก้ที่เป็นภาพวาด ซึ่งมีรายละเอียดเต็มซับซ้อน รวมถึงใช้
ภาพถ่าย หรือเลย์เอาต์ที่ซับซ้อน (เช่น ความสูงต่ำของอักษรที่ไม่เท่ากัน สีสันที่ไม่เข้าแก๊ป ฯลฯ) โลโก้
ลักษณะนี้มีโอกาสล้มเหลวสูงมาก กล่าวคือ ยิ่งมีรายละเอียดมากเท่าไร โอกาสที่ลูกค้าจะจำได้ก็น้อยลง
เท่านั้น โลโก้ที่ดูง่าย เป็นหนึ่งเดียว (ทั้งสีสันและรูปแบบ) ใช้เส้นน้อย จะสร้างอิมแพกต์ และการจดจำ
ได้ง่ายกว่า
ของเจ้าของกิจการส่วนใหญ่จะเลือกใช้ชื่อย่อแทน ซึ่งยากมากที่จะออกแบบมาแล้วได้ประสบ
ความสำเร็จซึ่งต้องใช้งบประมาณมากในการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ชื่อย่อโลโก้ของกิจการจะได้รับความ
ไว้วางใจ บางทีธุรกิจของกิจการหายไปก่อนก็ได้ ส่วนใหญ่ลูกเล่นของโลโก้ที่ใช้ชื่อย่อ จะนำเอา
ตัวอักษรวางซ้อนทับกัน แม้จะดูสนุก (จนขาดความจริงจัง) แต่ข้อเท็จจริงที่คุณอาจจจะมองข้ามไป
พร้อมๆ กับลูกค้าของกิจการ คือ ไม่สามารถบอกกล่าวความสามารถในการสร้างความน่าเชื่อถือให้กับ
สินค้า และบริการของกิจการแก่ลูกค้าได้ทราบเลย
7. โลโก้ซับซ้อน-รายละเอียดมากเกินไป โลโก้ที่เป็นภาพวาด ซึ่งมีรายละเอียดเต็มซับซ้อน รวมถึงใช้
ภาพถ่าย หรือเลย์เอาต์ที่ซับซ้อน (เช่น ความสูงต่ำของอักษรที่ไม่เท่ากัน สีสันที่ไม่เข้าแก๊ป ฯลฯ) โลโก้
ลักษณะนี้มีโอกาสล้มเหลวสูงมาก กล่าวคือ ยิ่งมีรายละเอียดมากเท่าไร โอกาสที่ลูกค้าจะจำได้ก็น้อยลง
เท่านั้น โลโก้ที่ดูง่าย เป็นหนึ่งเดียว (ทั้งสีสันและรูปแบบ) ใช้เส้นน้อย จะสร้างอิมแพกต์ และการจดจำ
ได้ง่ายกว่า
5 สาเหตุที่ทำให้คนไม่เข้าเว็บไซต์
1. ไม่รู้จักเว็บไซต์ของกิจาร
คนทั่วไปอาจจะไม่เคยรู้จักหรือเคยได้ยินชื่อเว็บไซต์ของกิจการ ทำให้ลูกค้าไม่สามารถเข้ามาที่
เว็บไซต์กิจการได้ เมื่อต้องการใช้บริการที่เป็นลักษณะเดียวกับเว็บไซต์ของกิจการ
วิธีการแก้ไข : หาทางประชาสัมพันธ์เว็บไซต์กิจการให้คนอื่นๆ เป็นที่รู้จักมากขึ้น ให้พวกลูกค้า
สามารถจำจดชื่อเว็บไซต์ของกิจการให้ได้ เช่น ทำการตลาดเสิรซเอินจิ้น, การตลาดผ่านอีเมล์, การลง
โฆษณาประชาสัมพันธ์ในเว็บและสื่ออื่นๆ
2. จำชื่อเว็บไซต์กิจการไม่ได้
เป็นปัญหาที่เมื่อลูกค้าเข้ามาในเว็บไซต์กิจการ แต่ไม่สามารถ จดจำชื่อเว็บไซต์กิจการได้ ทำให้
ลูกค้าต้องนึกหรือค้นหาเว็บไซต์กิจการอีกครั้งเมื่อต้องการเข้ามาอีกในครั้งต่อไป ซึ่งสาเหตุอาจจะเป็น
เพราะ ชื่อเว็บไซต์กิจการ พิมพ์ยากหรือสะกดยาก, เว็บไซต์กิจการ ไม่มีความโดดเด่นหรือแตกต่างจาก
คนทั่วไปอาจจะไม่เคยรู้จักหรือเคยได้ยินชื่อเว็บไซต์ของกิจการ ทำให้ลูกค้าไม่สามารถเข้ามาที่
เว็บไซต์กิจการได้ เมื่อต้องการใช้บริการที่เป็นลักษณะเดียวกับเว็บไซต์ของกิจการ
วิธีการแก้ไข : หาทางประชาสัมพันธ์เว็บไซต์กิจการให้คนอื่นๆ เป็นที่รู้จักมากขึ้น ให้พวกลูกค้า
สามารถจำจดชื่อเว็บไซต์ของกิจการให้ได้ เช่น ทำการตลาดเสิรซเอินจิ้น, การตลาดผ่านอีเมล์, การลง
โฆษณาประชาสัมพันธ์ในเว็บและสื่ออื่นๆ
2. จำชื่อเว็บไซต์กิจการไม่ได้
เป็นปัญหาที่เมื่อลูกค้าเข้ามาในเว็บไซต์กิจการ แต่ไม่สามารถ จดจำชื่อเว็บไซต์กิจการได้ ทำให้
ลูกค้าต้องนึกหรือค้นหาเว็บไซต์กิจการอีกครั้งเมื่อต้องการเข้ามาอีกในครั้งต่อไป ซึ่งสาเหตุอาจจะเป็น
เพราะ ชื่อเว็บไซต์กิจการ พิมพ์ยากหรือสะกดยาก, เว็บไซต์กิจการ ไม่มีความโดดเด่นหรือแตกต่างจาก
3. เว็บไซต์ไม่น่าสนใจ
ลูกค้าอาจจะเคยเข้าเว็บไซต์กิจการแล้วพบเว็บไซต์กิจการไม่มีความน่าสนใจ หรือมีบริการหรือ
ข้อมูลที่ไม่ตรงใจกับความต้องการของลูกค้า และบางครั้งอาจจะเกิดจากเว็บไซต์ของกิจการมีข้อมูลไม่
มากเพียงพอที่จะทำให้ลูกค้าสนใจในเว็บและกลับมาบ่อยๆ
วิธีการแก้ไข : จัดเตรียมและหาข้อมูลที่น่าสนใจมาใส่ไว้ในเว็บใว้จำนวนมากขึ้น เพื่อสร้างความ
น่าสนใจและดึงดูดให้ลูกค้ากลับมาอย่างต่อเนื่อง
4. เว็บไซต์ไม่อัพเดท
ไม่เคยเปลี่ยนแปลงหรือมีการเพิ่มเติมข้อมูลลงไปในเว็บไซต์เลยตั้งแต่เปิดดำเนินการมา เมื่อมี
ลูกค้าเข้ามาในเว็บไซต์กิจการแล้ว และเมื่อกลับมาเข้าอีกครั้งหนึ่งลูกค้าก็ยังพบว่าข้อมูลเว็บไซต์กิจการ
ไม่เปลี่ยนแปลงเลย ก็ทำให้ลูกค้าไม่อยากกลับมาอีก
วิธีการแก้ไข: พยายามหาข้อมูลใหม่ๆ ใส่ลงไปในเว็บอย่างต่อเนื่อง, สำหรับบางกิจการมีปัญหา
ไม่สามารถอัพเดท หรือเพิ่มเติมข้อมูลลงไปในเว็บได้ เพราะต้องคอยพึ่งพาเว็บมาสเตอร์ หรือบริษัท
รับจ้างทำเว็บ ซึ่งกิจการสามารถหันมาใช้เว็บไซต์สำเร็จรูป ที่กิจการสามารถเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม
ข้อมูลในเว็บไซต์ได้เอง หรืออาจจะนำเว็บบอร์ด มาติดตั้งในเว็บไซต์กิจการก็ได้ เพื่อให้คนทั่วไป
สามารถมาพูดคุยหรือเพิ่มข้อมูลให้กับเว็บไซต์กิจการได้
5. เว็บไซต์คู่แข่งคุณดีกว่า น่าสนใจกว่า
บางครั้งคนทั่วไปอาจจะรู้จักเว็บไซต์ของกิจการ แต่คนทั่วไปพบว่าเว็บไซต์ของคู่แข่งกิจการ ดู
น่าสนใจกว่า และสามารถตอบสนองความต้องการได้มากกว่าเว็บไซต์กิจการ แค่นี้ลูกค้าก็จะไม่เข้า
เว็บไซต์กิจการและหันไปเข้าเว็บไซต์ของคู่แข่งแทน
ลูกค้าอาจจะเคยเข้าเว็บไซต์กิจการแล้วพบเว็บไซต์กิจการไม่มีความน่าสนใจ หรือมีบริการหรือ
ข้อมูลที่ไม่ตรงใจกับความต้องการของลูกค้า และบางครั้งอาจจะเกิดจากเว็บไซต์ของกิจการมีข้อมูลไม่
มากเพียงพอที่จะทำให้ลูกค้าสนใจในเว็บและกลับมาบ่อยๆ
วิธีการแก้ไข : จัดเตรียมและหาข้อมูลที่น่าสนใจมาใส่ไว้ในเว็บใว้จำนวนมากขึ้น เพื่อสร้างความ
น่าสนใจและดึงดูดให้ลูกค้ากลับมาอย่างต่อเนื่อง
4. เว็บไซต์ไม่อัพเดท
ไม่เคยเปลี่ยนแปลงหรือมีการเพิ่มเติมข้อมูลลงไปในเว็บไซต์เลยตั้งแต่เปิดดำเนินการมา เมื่อมี
ลูกค้าเข้ามาในเว็บไซต์กิจการแล้ว และเมื่อกลับมาเข้าอีกครั้งหนึ่งลูกค้าก็ยังพบว่าข้อมูลเว็บไซต์กิจการ
ไม่เปลี่ยนแปลงเลย ก็ทำให้ลูกค้าไม่อยากกลับมาอีก
วิธีการแก้ไข: พยายามหาข้อมูลใหม่ๆ ใส่ลงไปในเว็บอย่างต่อเนื่อง, สำหรับบางกิจการมีปัญหา
ไม่สามารถอัพเดท หรือเพิ่มเติมข้อมูลลงไปในเว็บได้ เพราะต้องคอยพึ่งพาเว็บมาสเตอร์ หรือบริษัท
รับจ้างทำเว็บ ซึ่งกิจการสามารถหันมาใช้เว็บไซต์สำเร็จรูป ที่กิจการสามารถเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม
ข้อมูลในเว็บไซต์ได้เอง หรืออาจจะนำเว็บบอร์ด มาติดตั้งในเว็บไซต์กิจการก็ได้ เพื่อให้คนทั่วไป
สามารถมาพูดคุยหรือเพิ่มข้อมูลให้กับเว็บไซต์กิจการได้
5. เว็บไซต์คู่แข่งคุณดีกว่า น่าสนใจกว่า
บางครั้งคนทั่วไปอาจจะรู้จักเว็บไซต์ของกิจการ แต่คนทั่วไปพบว่าเว็บไซต์ของคู่แข่งกิจการ ดู
น่าสนใจกว่า และสามารถตอบสนองความต้องการได้มากกว่าเว็บไซต์กิจการ แค่นี้ลูกค้าก็จะไม่เข้า
เว็บไซต์กิจการและหันไปเข้าเว็บไซต์ของคู่แข่งแทน